Skip to player
Skip to main content
Skip to footer
Search
Connect
Watch fullscreen
Like
Comments
Bookmark
Share
Add to Playlist
Report
ไฮโดรเจน พลังงานสะอาดแห่งอนาคต สะอาดจริงไหม ?
beartai แบไต๋
Follow
yesterday
ไฮโดรเจน ธาตุที่มีจำนวนมากที่สุดในจักรวาล จะกลายมาเป็นพลังงานสะอาดที่ทดแทนพลังงานอื่นได้จริงไหม ? แล้วอะไรพลังงานสะอาดที่ว่าสะอาดแค่ไหน ? มาไขคำตอบของคำถามเกี่ยวกับพลังงานไฮโดรเดจน Game Changer ด้านพลังงานแห่งอนาคตได้ใน เดอะ วิทย์ด้อม #BTbeartai #เดอะวิทย์ด้อม #พลังงานสะอาด #ไฮโดรเจน #เฌอปราง
Category
🤖
Tech
Transcript
Display full video transcript
00:00
ถ้าพูดถึงพลังงานสะอาด
00:02
ทุกคนอาจจะเน็กถึงพลังงานไฟฟ้า
00:04
ที่มาจากแผง Solar Cell บนหลังคา
00:06
หรือกลังขันลบอันใหญ่ ๆ
00:08
รวมถึงเขือนที่ใช้แรงดันน้ำ
00:10
มาปั่นไฟด้วย ใช่ไหมคะ
00:12
แต่รู้ไหมคะว่า
00:14
ยังมีพลังงานสะอาดอีกชนิดนึง
00:16
ที่อยู่ใกล้ตัวกว่าที่พวกเราคิด
00:18
ถ้าใครได้ยินชื่อ
00:20
แน่นอนค่ะว่าสิ่งนั้นก็คือ
00:22
พลังงาน Hydrogen ค่ะ
00:38
นี่นะคะคือแหล่งพลังงานสะอาดที่ทั่วโลก
00:40
กำลังพูดถึงกันเยอะขึ้นมาก ๆ เลยค่ะ
00:42
ตั้นแต่วงการวิทยาศาสตร์
00:44
วงการพลังงาน
00:46
ภาคอุสาหกรรมต่าง ๆ
00:48
ห직ดีอย่างเรา ๆ
00:50
นี่อาจจะเป็นตัวเปลี่ยนเกม blood
00:52
ที่โฟน ME น้ำมัน
00:54
และเกลมธามชะน์เลยก็เป็นได้ค่ะ
00:56
ในเวี่ยม左右
00:58
จะพาทุกคนมาสมรวดโลก maps
01:00
ผลังงานที่มี Hydrogen
01:02
เป็นตัวแปดสำคัญ
01:04
ที่อาจจะพาเราเข้าไปส tattoo
01:06
ใน tomb серд ๆ กัน 그러� SO
01:08
สาอาดที่ tired
01:10
แต่ล้อยากละวิทยีเวลา algún
01:14
กับพลังงาน
01:15
เรามาทำความรู้จักกับท่าตัวแรกบนตารังท่าตัวนี้กันก่อนเลยดีกว่าค่ะ
01:20
ตอนนี้ Hydrogen เป็นเหมือนตัวละครรับในโลกพลังงานที่เราเห็นบทบาทอยู่เรื่อย ๆ
01:26
ในหลาย ๆ ชาก
01:27
ตั้งแต่ เอาวกาศ วิศวะกรรม ไปจนถึงข่าวเศรษฐกิจ
01:31
และการเมืองพลังงานระดับโลก
01:33
ถ้าใครเป็นแฟนรายการเรามาตลอด
01:35
จะรู้ว่าเราพูดถึง Hydrogen บ่อยมากค่ะ
01:38
ในเรื่องของจักรวานนาวกาศก็มี Hydrogen
01:40
เคมีก็มี Hydrogen
01:42
แม้แต่เครื่องเร่งอนุภาค LHC
01:45
ก็ใช้ Hydrogen เป็นจุดเริ่มต้นในการยิ่งอนุภาค
01:48
เรากับว่า Hydrogen นั้น
01:50
มันอยู่ในทุกอนุของชีวิตประจำวันของเราเลยค่ะ
01:53
ซึ่งก็ใช่แล้วค่ะ
01:55
เพราะมันเป็นท่าที่มีมากที่สุดในจักรวานเลย
01:58
นับเป็น 73-75% ของสักษารในเอกพบของเราทั้งหมด
02:03
แต่บนโลกของเรานะคะ
02:05
มันกลับไม่ได้เข้าถึงง่ายขนาดนั้น
02:07
เพราะมันมักจะไม่ลอยเดียวอยู่ตามธรรมชาติ
02:10
แต่จะจับคู่กับท่าทอื่นๆ
02:12
เช่นเป็นน้ำอย่าง H2O
02:15
หรือเป็นมีเทน CS4
02:18
การที่จะใช้ Hydrogen ให้เป็นประโยชน์นะคะ
02:20
เราต้องแยกมันออกมาก่อนค่ะ
02:22
กระบวนการที่ใช้กันมากที่สุด
02:24
ในการแยก Hydrogen ออกมา
02:26
จากน้ำจะเรียกว่า Erectolysis
02:29
หรือการแยกด้วยไฟฟ้า
02:31
ซึ่งเป็นการใช้กระแสดไฟฟ้าทานน้ำ
02:33
เพื่อแยกมลิกุลให้กายเป็น Gas Hydrogen
02:36
กับ Oxygen โดยตรง
02:38
ซึ่งเราจะสังเกตว่าในกระบวนการนี้นะคะ
02:40
จำเป็นจะต้องใช้พรังงานอยู่ดีค่ะ
02:43
ในรูปแบบของพรังงานไฟฟ้า
02:45
ทำให้ Hydrogen จริงๆ แล้ว
02:47
ไม่ใช่แหล่งพรังงาน
02:49
แต่เป็นเหมือนแบตเตอรี่แบบหนึ่ง
02:51
หรือที่เราเรียกว่า Energy Carrier
02:54
หลายคนเข้าใจว่า Hydrogen จะแข่งกับน้ำมัน
02:57
Solar หรือ Nuclear
02:59
แต่จริงๆ มันอยู่กันคนละเลเยอร์กันค่ะ
03:02
พรังงาน Nuclear หรือ Solar คือแหล่งผลิต
03:05
ส่วน Hydrogen คือสิ่งที่เราใช้เก็บพรังงานพวกนั้นไว้
03:09
เหมือนกับแบตเตอรี่
03:11
แล้วทำไมแบบนี้เราไม่ใช้แบตเตอรี่ละคะ
03:14
คำตอบก็คือนะปัจจุบันนะคะ
03:17
แบตเตอรี่ที่มีประสิทธิภาพที่เรารู้จักกันนั้น
03:20
เรียกว่า Ritium Ion
03:22
ซึ่งมันสร้างมาจากกระบวนการที่
03:24
ที่ไม่ค่อยเป็นมีกับโลกสักเท่าไหร่นัก
03:27
แถมยังอาจถูกภูกคาจจากแหล่งผลิต
03:30
ยังไม่รวมสินการที่มันจะไม่สามารถถูกเครื่อนยายได้ง่ายๆ
03:34
หรือหากเราปล่อยไฟฟ้าออกมา
03:36
ก็มีข้อจำกัดมากมายที่ทำให้เราไม่สามารถ
03:39
ที่จะส่งไฟฟ้าข้ามประเทศ
03:41
หรือข้ามทวีบกันได้ง่ายๆค่ะ
03:43
หรือถ้าในมุมมองของผู้ใช้งานแบบเราๆ
03:46
ใครใช้รถไฟฟ้าก็จะทราบดีนะคะว่าการชาร์จแบตก็จะต้องรอระยะเวลา
03:51
ไม่เหมือนกับการเติมน้ำมัน
03:53
ดังนั้นแบตเตอรี่อาจจะเหมาะกับการเก็บภัลังงานระยะสั้น
03:57
หรือในเมืองขณะที่ Hydrogen
04:00
เหมาะกับการเก็บภัลังงานระยะยาวในพื้นที่ห่างใกล
04:04
หรือในระบบที่ต้องการความต่อเนื่องสูง
04:06
เช่น โรงพยาบาล ระบบสำรองพลังงานของ Data Center
04:11
หรือ ระบบผลิตไฟฟ้าในรืดูที่ไม่มีแสงแดดเลยเป็นสัปดาห์
04:15
แพม มันก็ยังสามารถส่งผ่านระบบทอได้ด้วย
04:18
เหมือนกับการส่งน้ำมั่นเชื้อเพลิงนั่นเองค่ะ
04:21
ลายคนอันจะสงสัยกันแล้วใช่ไหมคะว่า
04:24
สร้างได้แล้วกักเก็บได้แล้ว
04:26
แล้วจะเอาพลังงานจากมันมาใช้ได้อย่างไร
04:29
คำตอบก็คือ Hydrogen จะทำหน้าที่เหมือนแบตเตอรี่ในรูปแบบ Gas
04:34
ซึ่งเราจะสามารถดึงพลังงานที่มันเก็บไว้
04:37
ออกมาใช้ได้โดยหลัก ๆ สองวิธีค่ะ
04:40
คือ เพ่าไม่โดยตรงกับแปลงมันกลับมาเป็นไฟฟ้า
04:44
ผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า Feel Cell ค่ะ
04:46
วิธีแรกก็คือการเอา Hydrogen ไปเผาในเตาหรือกลังหัน Gas
04:50
คล้ายกับการเผา Gas ธรรมชาติ
04:52
เพื่อผลิตไฟฟ้า มองกับงานอุศากรรม
04:54
หรือการผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่
04:56
โดยการเผาที่ว่านั้นไม่ทำรายโลกเลยค่ะ
04:59
เพราะว่าเราจะเอา Hydrogen ไปเผาร่วมกับ Oxygen
05:02
เพื่อให้เกิดพลังงานและมีของเสียที่ออกมาสะอาดมากๆ
05:07
ก็คือน้ำนั่นเองค่ะ
05:09
ส่วนวิธีที่สองนะคะ
05:10
ก็การให้ Hydrogen เข้าไปทำประติกริยากับ Oxygen ใน Fuel Cell
05:15
เพื่อผลิตไฟฟ้า น้ำ และความร้อน
05:17
แบบเดียวกับที่ใช้ในรถ Hydrogen นั่นเองค่ะ
05:20
ดังนั้นรถ Hydrogen ที่เราชอบเรียกๆกัน
05:23
จริงๆหลักการของมันก็คือ รถไฟฟ้า นั่นแหละค่ะ
05:27
แค่ยกเอาแบตเตอรี่ Lithium Ion ออก
05:29
แล้วใส่ถัง Hydrogen กับ Fuel Cell เข้าไป
05:32
แล้วนำพลังงานจากมันมาหมุนมอเตอร์ไฟฟ้าแทนค่ะ
05:35
แล้วเราก็มาถึงช่วงที่เชอคอชวงทุกคนนะคะ
05:38
มากลางพังสีของ Hydrogen ไปพร้อมๆกันค่ะ
05:41
หลายคนอาจจะเคยได้ยินว่า Hydrogen มีหลายสี
05:44
ไม่ใช่ว่ามันมีสเปคต้ำแตกต่างกันหรอกนะคะ
05:47
อย่าเข้าใจผิด
05:49
แต่ว่ามันคือวิธีที่เราใช้จำแนกว่า
05:51
Hydrogen แต่ละชนิด ผลิตมาจากอะไร
05:54
และสะอาดแค่ไหนค่ะ
05:56
4 น้ำตาลคือมาจากฐานหิน
05:58
ปล่อย Gas Carbon Dioxide เยอะที่สุด
06:00
4 เท่าคือมาจาก Gas ธรรมชาติ
06:02
โดยผ่านกระบวนการ Steam Methane
06:05
Reforming
06:06
หรือการปฏิรูป Methane ด้วยไอ้น้ำ
06:08
ซึ่งก็ยังปล่อย Gas Carbon Dioxide เยอะมากอยู่ค่ะ
06:11
สีฟ้าก็คล้ายๆกัน
06:13
แต่ Gas Carbon Dioxide ที่เกิดขึ้นในกระบวนการการผลิต
06:16
จะถูกกับเก็บด้วยเทคโนโลยีการดักจับ
06:19
และการจัดเก็บ Gas Carbon Dioxide
06:21
หรือที่เราเรียกว่า Carbon Capture and Storage
06:24
CCS ค่ะ
06:25
มีการดักจับ Carbon ไว้ระหว่างทาง
06:28
ส่วนสีชมพูคือการใช้พลังงานจากโรงไฟฟ้านิวเครีย
06:31
มาแยกน้ำให้กลายเป็น Hydrogen
06:34
แล้วสุดท้ายไฮไลต์ของวันนี้
06:36
คือสีเขียว
06:37
หรือ Green Hydrogen
06:39
ซึ่งผลิตจากการใช้พลังงานสะอาด
06:41
และจากพลังงานหมุนเวียน
06:43
อย่างเช่น Solar
06:44
หรือพลังงานลมมาแยกน้ำ
06:46
เป็น Hydrogen แบบไม่ปล่อย Carbon เลย
06:49
ตั้งแต่ต้นจนจบ
06:50
คำถามคือ
06:51
แล้วเราจะเลือกสีไหน
06:53
ถ้ามองแบบคนที่อยากให้โลกใบนี้
06:55
ยังมีอากาศหายใจ
06:56
สีเขียวเท่านั้นค่ะ
06:58
แต่ความทะทายก็คือ
06:59
สีเขียวนี่ละค่ะ
07:00
ที่ยังแพงที่สุดในตอนนี้
07:03
เพราะต้องใช้ไฟฟ้าปาริมานมาก
07:05
และอุปกรณ์อย่าง Electrolyzer
07:07
ที่ราคายังสูงมาก
07:09
เมื่อเทคโนโลยีเดิม ๆ
07:10
แต่จุดที่มันน่าสนใจก็คือ
07:12
Green Hydrogen คือพลังงาน
07:14
ที่มาจากสิ่งที่ทุกคนเข้าถึงได้
07:17
แสงแดด
07:17
ไม่ต้องพึ่งโรงกัน
07:19
หรือโรงไฟฟ้านิวเครีย
07:20
ไม่ต้องมีโครงสร้างระดับรัก
07:22
ก็เริ่มผลิตใช้ในระดับชุมชนได้
07:24
ถ้าเทคโนโลยีมีราคาถูก
07:26
และทุกคนเข้าถึงได้
07:28
ที่ผ่านมาเราอาจจะนึกถึงพลังงานสะอาด
07:30
แค่ในรู้แบบของโซลาบนหลังคา
07:33
หรือรถ EV ที่เสียปลักชาร์จ
07:36
แต่นั่นแค่ครึ่งหนึ่งของภาพใหญ่เท่านั้น
07:39
Hydrogen กำลังจะมาเติมเต็มอีกครึ่งที่เหลือ
07:41
ในภาคอุสาหกรรม
07:43
ที่ต้องใช้ความร้อนสูง
07:44
อย่างโรงปูน
07:46
หรือใช้ Hydrogen เป็นวัธุดิบตั้งต้น
07:48
ในการผลิตโดยตรง
07:49
อย่างในโรงเหล็ก
07:51
โรงปุย
07:51
หรือแม้แต่ระบบสำรองพลังงาน
07:53
ที่ต้องการความต่อเนื่อง
07:55
ในพื้นที่ห่างกลาย
07:56
ที่ต้องสำรองพลังงาน
07:58
เก็บไว้ในระยะยาว
07:59
หรือข้ามหรือดูการ
08:01
Hydrogen ไม่ได้มีบดบาทแค่ในด้านพลังงาน
08:03
แต่ยังเป็นวัธุดิบสำคัญในการผลิตแอมโมเนีย
08:07
ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักของปุยสังเคราะห์
08:09
ที่ใช้กันทั่วโลก
08:10
ซึ่งเดิมทีก็ปล่อยคาร์บอร์โดนโครกไซด์
08:12
จำนวนมหาศาล
08:14
คิดเป็น 1-2% ของทั่วโลกเลยนะคะ
08:17
ดังนั้น
08:17
ถ้าเราสามารถเปลี่ยนมาใช้ Green Hydrogen
08:20
Hand Hydrogen จาก Fossil ได้
08:22
กลับวนการนี้
08:23
จะกลายเป็น Green Ammonia
08:25
หรือ Ammonia ที่มี Carbon Fruit เป็นที่ต่ำมาก
08:28
หรือแทบไม่มีเลย
08:30
และถ้าส่งเสริมในระดับนโยบาย
08:32
เราอาจได้เห็นสิ่งที่เรียกว่า
08:33
Green Nitrogen Economy
08:35
ระบบการผลิตปุย
08:37
ที่ไม่ทำร้ายสิ่งแวดล้อม
08:39
ตั้งแต่ต้นทางยันปลายน้ำค่ะ
08:41
และอาจจะใช้ Ammonia
08:43
เป็นพลังงานสะอาดได้อีกด้วยในอนาคต
08:46
เช่น
08:47
เป็นเชื้อเพิงเรือ
08:48
หรือการเก็บพลังงานขนาดใหญ่
08:50
แล้วประเทศไทยของเรา
08:52
อยู่ตรงไหนของแผนนี้
08:54
จริง ๆ แล้วกลุ่มปตทอเอง
08:56
ก็ลงทุนและศึกษาด้านนี้มาหลายปีแล้ว
08:59
ตั้งแต่การเข้าไปร่วมลงทุน
09:00
ในโครงการ Hydrogen สีเคี้ยวระดับนานาชาติ
09:03
ในประเทศโอมัน
09:05
ไปจนถึงการมีส่วนร่วม
09:06
ในการตั้งสมาคม Hydrogen Thailand
09:09
เพื่อเป็นสูนรวมความรู้
09:10
และขับเคลื่อนเชิงนโยบาย
09:12
นอกจากนี้
09:13
ยังมีการศึกษาและนำข้อมูลต่าง ๆ
09:16
เพื่อช่วยสนับสำนุนการตัดสินใจ
09:17
ของภาครัศ
09:18
ในการวางแผนนโยบาย
09:20
เพื่อให้เกิดสังคม Hydrogen ในประเทศไทย
09:23
จะช่วยลดต้นทุน
09:25
และเร่ง Adoption ได้มากขึ้น
09:27
ซึ่งทั้งหมดนี้
09:28
คือการเตรียมความพร้องในเชิงระบบ
09:31
ที่ทำให้ Green Hydrogen ปล่ายเป็นเรื่องจริงได้
09:34
ในประเทศไทย
09:35
สุดท้าย Hydrogen จะเป็นพระเอ็ก
09:38
ของระบบพรังงานในอนาคตหรือไม่
09:40
อาจไม่ใช่สิ่งที่ต้องรีบฟันทง
09:42
แต่ที่แน่ ๆ มันคือหนึ่งในเครื่องมือที่สำคัญมาก
09:45
และถ้าเราเริ่มวางระบบให้ดีตั้งแต่วันนี้
09:48
เราก็จะมีทางเลือกในวันที่โลก
09:50
ไม่ยอมให้เราปล่อย Carbon อีกต่อไป
09:53
เจอก็ขอฝากให้ทุกคนอาจจะช่วยมองภาพใหญ่ไปด้วยกัน
09:57
แล้วทุกคนคิดว่า Hydrogen ควรเป็นตัวเลือกหลัก
10:00
หรือควรเก็บไว้เป็นแผนสำรองของโลกใบนี้
10:03
ฝากลองเอาไปคิดกันดูนะคะ
10:05
ให้คะแนนความวิทย์ระดาบเท่าไหร่ดีนะ
10:08
อันนี้ชีวๆมากเลย ยังพอจะเก็ดกันอยู่ใช่ไหมคะ
10:11
สัก 5 บิกเกอร์พอไหวอยู่ไหมคะ
10:14
ได้อยู่เนอะ โอเค
10:15
แล้วพบกันใหม่นะคะ ในตอนหน้าของ The Width Dom
10:18
Dom ของคนชอบวิทย์ค่ะ
10:35
เวลียร์พอไหวอยู่ไหน ที่ด้วยบ้าง
10:49
สวัสดี
Recommended
3:14
|
Up next
กล้องอวกาศ เจมส์ เว็บบ์ พบดาว ในเนบิวลา "อุ้งเท้าแมว" |ทันโลก EXPRESS | 15 ก.ค. 68
PPTVHD36
today
3:45
ญี่ปุ่นให้บริการ "เทเลเมดดิก" แด่นักท่องเที่ยวหากป่วย |ทันโลก EXPRESS | 15 ก.ค. 68
PPTVHD36
today
0:54
จะถ่ายคลิปโชว์เท่ซะหน่อย แต่ดันได้ชอตฮาลั่น
Kapook.com
today
15:06
"ตาเมือนธม" คึกคัก ทหารเขมรตึงเครียด | เรื่องใหญ่ Live Talk Hlighlight | 14 ก.ค. 68
PPTVHD36
yesterday
1:34
ชาวเน็ตตั้งข้อสงสัย ! เบรกกะทันหันเหมือนจงใจให้ชนท้าย ก่อนเผ่นหนีหลังเจอพยานเพียบ
Kapook.com
yesterday
0:22
หวิดใจหล่น ! งูจงอางยักษ์พยายามเลื้อยเข้าบ้าน โชคดีปิดประตูทัน
Kapook.com
yesterday
1:47:36
DooMovie⭐เฉินหลง ดูหนังออนไลน์ เต็มเรื่อง หนังใหม่ หนังเก่า ชนโรง
ดูหนังออนไลน์ DooMovie
11/17/2024
1:14:45
DooMovie⭐แหกคุกอวกาศ หนังดีห้ามพลาด แอคชั่น ดูหนังออนไลน์ เต็มเรื่อง หนังใหม่ชนโรง
ดูหนังออนไลน์ DooMovie
11/17/2024
1:22:00
DooMovie⭐โจวซิงฉือ-พยัคฆ์ไม่ร้าย คัง คัง ฉิก-พากษ์พันธมิตร ดูหนังออนไลน์ เต็มเรื่อง หนังเก่า หนังใหม่ชนโรง
ดูหนังออนไลน์ DooMovie
11/17/2024
1:20:47
แก่ = โรค รักษาได้ ? | bt Originals Life Series
beartai แบไต๋
yesterday
18:32
ตำนานเครื่องบินโดยสาร กับความเร็วเหนือเสียง ที่มาก่อนกาล | เดอะวิทย์ด้อม
beartai แบไต๋
6/25/2025
14:58
จับเครื่องจริง Nintendo Switch 2 มีอะไรใหม่บ้าง ? | bt Originals
beartai แบไต๋
6/25/2025
23:38
ถกทางออก 'ท่องเที่ยวไทย' ไปรอดไหม ? | bt Originals
beartai แบไต๋
6/19/2025
16:14
ภาษีเค็ม ลดโซเดียมเพิ่มภาระ ? | bt Originals
beartai แบไต๋
5/29/2025
59:47
50 แล้วไง ? เริ่มธุรกิจโซลาร์เซลล์ในวัยเก๋า ช้าไปไหม ? | CEO2CEO X EnergyLIB
beartai แบไต๋
5/29/2025
25:24
เราจะถูกขังไว้บนโลกด้วยขยะอวกาศ !? | bt Originals
beartai แบไต๋
5/29/2025
20:06
เจาะลึกเครื่องเร่งอนุภาค ที่ใช้ไขความลับที่เล็กที่สุดในจักรวาล | เดอะวิทย์ด้อม
beartai แบไต๋
5/28/2025
23:05
ไทยจะเกิดภัยพิบัติไหนอีก ? | bt Originals
beartai แบไต๋
5/6/2025
57:16
ลองเป็น ‘นักฟุตบอลอาชีพ’ สโมสร True Bangkok United ซ้อมจริง เหนื่อยจริง ! | Staff Only
beartai แบไต๋
5/2/2025
1:17:04
วางแผนการเงินในวัยเกษียณให้พอถึงร้อยปี | BT Originals Life Series
beartai แบไต๋
4/25/2025
1:02:36
Fastwork ทำกำไรหรือขายฝัน ? | CEO2CEO x @ckfastwork
beartai แบไต๋
4/25/2025
12:37
Boeing จากจุดสูงสุด สู่จุดวิกฤตที่ยังไร้ทางออก | Bookmark
beartai แบไต๋
4/25/2025
17:29
ฟังโดยตรง ! ตอบปัญหา 'ประกันสังคม' จาก 'บอร์ดแพทย์' | bt Originals
beartai แบไต๋
4/10/2025
24:07
ตรวจอสังหาหลังแผ่นดินไหว มาตรฐานแบบไหนถึงเอาอยู่ ? | bt Originals
beartai แบไต๋
4/10/2025
13:13
ปริศนาต้นกำเนิดการบอกเวลาของมนุษย์ | เดอะวิทย์ด้อม
beartai แบไต๋
4/4/2025